วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกกิจกรรมการเรียนครั้งที่ 2
วันอังคารที่ 26 สิงหาคม 2557
   วันนี้เป็นการเข้าสู่เนื้อหาบทเรียนชั่วโมงเเรก อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ตอบคำถามเเละร่วมเเสดงความคิดเห็นจากคำถามของอาจารย์ เเละร่วมกันสรุปเนื้อหาการเรียนจาก Powerpoint ที่อาจารย์ได้นำเสนอ
คำถามจากอาจารย์ผู้สอน
ปฐมวัยกับวิทยาศาสตร์
1.ทำไมถึงเรียกปฐมวัย เพราะเราเรียนสาขาปฐมวัย เพราะปฐมวัยเกี่ยวข้องกับรายวิชา เพราะเราต้องเรียนรุ้เด็กปฐมวัย
2. เครื่องมือในการเรียนรุ้วิทยาศาสตร์
 -คณิตศาสตร์ ( ภาษา - คณิต )
3. เด็กปฐมวัยกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 -วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กจริงหรือไม่จริงเพราะเด็กชอบอยากรุ้อยากเห็นสิ่งที่บ่งบอกว่าเด็กสามารถทำได้คือพัฒนาการ
 -ถ้าเด็กๆเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่อนุบาลจะยากเกินไปไหม
ไม่อยากเพราะสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก เช่น อยากรู้ อยากลอง ของเด็ก
-ควรให้เด้กอนุบาลเรี์ยนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
ทดลอง
4. วิทยาศาสตร์
ความหมายของมนุษย์ ที่จะเรียนรู้และเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวเอง
5. การเรียนรู้
คือ การเปลี่ยงแปลงพฤติกรรม
6. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
คือ การเอาตัวรอดบนโลกนี้
7.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ให้กับเด้กปฐมวัยมีความสำคัญโดยที่เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว การที่เด้กได้รู้จักสิ่งต่างๆ ทำให้เด็กเข้าใจในสิ่งที่สงสัย เข้าใจโลกที่อยู่ ซึ่งสงผลให้พัฒนาการความคิด รุ้จักหาคำตอบแบบวิทยาศาสตร์ เด็กมีประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์ จะช่วยส่งเสริมและพัมนาการเด็กในด้านต่างๆ ดังนี้
 1. สร้างความเชื่อมั่นให้กับตัวเอง
 2. ได้ประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับชีวิต
 3. มีทักษะในด้านกการสังเกต
 4. รู้จักแก้ปัญหาโดยมีผู้ใหญ่ช่วยเหลือ
 5. มีความรู้พื้นฐานจากการได้สืบค้น
 6. มีการพัฒนาด้านประสาทสัมผัสที่ 5 
ความหมายของการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด้กปฐมวัย ไม่แตกต่างจาก ความหมายของวิทยาศาสตร์ทั่วไป ซึ่งเน้นที่กระบวนการและผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ แต่เด็กปฐมวัยแตกต่างจากเด็กวัยอื่นๆ เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มเรียนรู้ดังนั้นจึงเป็นการกระทำโดยอาศัยพื้นฐาน เบื่องต้นทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กเกิดความเรียนรุ้เกี่ยวกับความจริงต่างๆรอบตัวเอง

การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำทักษะกระบวนการคิดการตัดสินใจและการเรียนรู้จากเนื้อหาและรายละเอียดในวันนี้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยไปปรับเปลี่ยนและประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนครั้งต่อไป

การประเมินตนเอง
แต่งกายถูกระเบียบ
เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
ตั้งใจทำ My Mapping สรุปความรู้ที่ได้

การประเมินเพื่อน
เพื่อนเข้าเรียนตรงต่อเวลา
โัดยส่วนใหญ่เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์สอน และ จดบันทึกสิ่งต่างๆที่ได้รับ

การประเมินอาจารย์ผุ้สอน
อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา
อะิบายการทำ My Mappingอย่างละเอียดและน่าสนใจให้กับนักศึกษา

ความรุ้เพิ่มเติม
การสร้าง My Mapping ให้น่าสนใจ และ น่าอ่าน


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น